ศีล 5 ความหมายของศีล 5
ศีล 5 คำแปล ความหมาย คำอาราธนา ศีล 5 พร้อมคำแปล วัตถุประสงค์ของการรักษาศีล
ศีล 5 คืออะไร มารักษาศีล 5 กันเถอะ
ศีล 5 คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำไมต้องรักษาศีล5 เราเข้าใจเรื่องศีล 5 มากน้อยแค่ไหน มาหาคำตอบเกี่ยวกับศีลห้ากันได้ที่นี่ค่ะ พร้อมภาพประกอบศีล 5 สวยๆ ...
ศีล 5 การสมาทานและรับศีล 5 อานิสงส์ของศีล
ศีล 5 การสมาทานศีล วิธีการสมาทานศีล 5 มี 3 แบบ คือ แบบสัมปัตตวิรัติ แบบสมาทานวิรัติ และแบบสมุจเฉทวิรัติ วิธีการรับศีลที่ถูกต้อง
ศีล 5 กับกลอนสุนทรภู่
สุนทรภู่แต่งกลอนไว้มากมาย ในผลงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พระอภัยมณี นิราศภูเขาทอง ภายในบทกลอนนั้นมีกลิ่นอายของสังคมในยุคนั้นที่ผสมผสานวัฒนธรรมและศาสนา วันนี้เรามาพิจารณา ศีล 5 ที่ปรากฏในบทกลอนกัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ Five Precept ศีล 5
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่อง Five Precept = ศีล 5 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟังจะมีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
กุศลกรรมบถ ศีล..มารดาแห่งความดี
ศีล เป็นเขตแดน เป็นเครื่องปิดกั้นความทุจริต ทำ จิตให้ร่าเริงแจ่มใสและเป็นท่าหยั่งลงมหาสมุทร คือ นิพพานของ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย เพราะฉะนั้น บุคคลพึงรักษาศีลให้บริสุทธิ์ (สีลวเถรคาถา)
ศีล คุ้มครองตนจากบาปและอกุศล
ศีล ในทางปฏิบัติหมายถึงการงดเว้นจากการประพฤติผิดทางกายและวาจา การควบคุมกายวาจาให้เรียบร้อยงดงาม ให้ปราศจากความมัวหมอง ไม่ให้ผิดปกติธรรมดา กล่าวคือการไม่ทำผิดไม่พูดผิดนั่นเองจัดเป็นศีล ซึ่งจัดเป็นคุณธรรม ที่ทำให้เข้าถึงความเป็นยอดคน เป็นบุคคลผู้สมบูรณ์แบบ มีความเป็นปกติ เป็นผู้ที่เย็นกาย เย็นใจ และมีชีวิตที่ปลอดโปร่ง ปลอดภัยอยู่เสมอ
ศีล 5 กลอนธรรม พระเทพสุวรรณโมลี
อ่านกลอนศีล 5 กลอนธรรมโดยพระเทพสุวรรณโมลี (สอิ้ง สิรินนฺโท) เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ให้ไว้เมื่อ 8 มกราคม พ.ศ.2557 ได้ที่นี่...
พิธีมอบป้ายโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5
ผู้ปฎิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช มอบป้ายยกย่องหมู่บ้านรักษาศีล 5 ที่จังหวัดสระบุรี พร้อมทั้งกล่าวให้โอวาท ”ถ้าทุกหมู่บ้านรักษาศีล 5 อย่างน้อย50 เปอร์เซนต์ ประเทศชาติจะสงบสุข
ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)